มตกภัตตชาดก ชาดกว่าด้วยสัตว์ไม่ควรฆ่าสัตว์
“เหล่าพราหมณ์เอ๋ย ถ้าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้อย่างนี้ว่า ความเกิดมี ของชาติภพนั้น เป็นทุกข์เช่นนี้ สัตว์จึงไม่ควรฆ่าสัตว์ เพราะผู้มีปกติข้าสัตว์ ย่อมได้รับความเศร้าโศก ด้วยต้องเสวยมหันตทุกข์ตลอดกาลนาน เหล่าพราหมณ์เอ๋ย ผู้ทำสัตว์อื่นให้เจริญ ย่อมได้ความเจริญในชาติสมภพ เมื่อเบียดเบียนสัตว์อื่นย่อมได้รับการเบียดเบียนเช่นกัน ดังนี้จึงไม่ควรฆ่าสัตว์อื่น อีกอย่างหนึ่ง ทุกท่านล้วนได้เห็นแล้วว่า แพะนี้เศร้าโศกแล้วเพราะมรณะภัยฉันใด ผู้มีปกติฆ่าสัตว์ ย่อมเศร้าโศกตลอดกาลนานฉันนั้น ดังนี้แล้วไม่ว่าผู้ใดก็ตาม จึงไม่ควรกระทำกรรมคือ ปานาติบาต ไม่ควรฆ่าสัตว์ด้วยเหตุผลดังนี้”
อริยมรรค หนทางสู่ความหลุดพ้น
ท่านทั้งหลายจงดำเนินตามทางที่สร่างความมัวเมา บรรเทาความเศร้าโศก เปลื้องตนให้หลุดพ้นจากสงสาร ซึ่งเป็นที่สิ้นสุดแห่งทุกข์ทั้งปวง โดยความเคารพเถิด
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย ตอน แสวงหาคำตอบของชีวิต
ขณะที่เรียนอยู่ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ท่านได้มีโอกาสฟังการบรรยายธรรม จากวิทยากรท่านต่างๆ จึงเกิดแรงบันดาลใจร่วมกับเพื่อนๆ ตั้งชุมนุมยุวพุทธขึ้น มีการศึกษา ธรรมะอย่างจริงจัง ไม่ว่าที่ใดมีการปาฐกถาธรรม ทั้งลานอโศก วัดมหาธาตุ และที่อื่นๆ จะต้องมีเด็กชายไชยบูลย์ ร่วมกิจกรรมอยู่ด้วยเสมอ
วิสาขามหาอุบาสิกา (พรอันประเสริฐ)
สตรีใดให้ข้าวและน้ำ มีใจเบิกบานแล้ว สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นสาวิกาของพระสุคต ครอบงำความตระหนี่แล้ว บริจาคทาน อันเป็นเหตุแห่งสวรรค์ เป็นเครื่องบรรเทาความโศก นำมาซึ่งความสุข สตรีนั้น อาศัยมรรคปฏิบัติ ปราศจากธุลี ไม่มีกิเลสเครื่องยั่วยวน ย่อมได้กำลัง และอายุทิพย์ สตรีผู้ประสงค์บุญนั้น เป็นคนมีสุข สมบูรณ์ด้วยพลานามัย ย่อมปลื้มใจในสวรรค์สิ้นกาลนาน
พระบรมธาตุในประเทศไทย ตอนที่ 2
พระบรมธาตุในประเทศไทย 1. วัดอโศกการาม 2. วัดราษฎร์บำรุง 3. พระสมุทรเจดีย์ 4. วัดทรงธรรมวรวิหาร (นครเขื่อนขันธ์).....
คัมภีร์ใบลานราษฎร์ ร่วมสืบศาสน์และชาติไทย
พระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาประดิษฐานในแผ่นดินสุวรรณภูมิเป็นครั้งแรก ราวปีพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ มหาราชผู้ยิ่งใหญ่แห่งอินเดีย โปรดเกล้าฯ ให้พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางจากแคว้นมคธมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบนี้ ซึ่งช่วงเวลานั้นประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุวรรณภูมิ ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และมีศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่จังหวัดนครปฐ
รับมือกับความผิดหวัง
สมหวังผิดหวังเป็นเรื่องธรรมดา แต่ทั้งที่รู้กันอย่างนี้เมื่อตั้งใจแล้วไม่ได้ดังหวังก็อดไม่ได้ที่จะเศร้าโศกเสียใจ ด้วยความเมตตาของ พระมหา สมชาย ฐานวุฑฺโฒ วันนี้เราจะมารับมือกับความผิดหวังกัน
อย่าให้เกิดอาการน้อยใจ
ผู้ใดละทิ้งคนของตน ทำผู้ที่มาใหม่ให้เป็นที่รักอย่างนี้ ผู้นั้นคนเดียวจะเศร้าโศกมากมาย เหมือนพราหมณ์ธูมการีเศร้าโศกอยู่อย่างนั้น
โกรธกันไปทำไม
บุคคลใดไม่มีความโกรธภายในจิตใจ และก้าวล่วงภพน้อยใหญ่มีประการเป็นอันมากเสียได้ เทวดาทั้งหลายไม่อาจเล็งเห็นวาระจิตของบุคคลนั้น ผู้ปลอดภัย มีสุขไม่มีโศก
ผู้ถึงความพินาศ
ผู้ใดเมื่อบุคคลกล่าวสอนอยู่ ไม่ทำตามคำสอนของผู้ปรารถนาประโยชน์ ผู้อนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ผู้นั้นย่อมถึงความพินาศ ย่อมเศร้าโศกเหมือนกาที่ไม่เชื่อฟังคำของนกพิราบ ตกอยู่ในเงื้อมมือของศัตรู